ข้าวศรีแสงดาวหมู่บ้านนาหยอด
'ไม่เผานา หยุดสร้างมลพิษ สะสมขุมทรัพย์ในดิน'
ทุ่งกุลาร้องไห้ เปรียบได้กับอู่ข้าวอู่น้ำของชาวนาที่มีดิน น้ำ อากาศ ดุจดั่งของขวัญจากธรรมชาติ ทำให้ปลูกข้าวได้หอมนุ่มเป็นเอกลักษณ์ต่างจากข้าวที่ปลูกที่อื่น ด้วยอัตลักษณ์นี้ ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้จึงเป็นสินค้าไทยชนิดแรกที่ได้ขึ้นทะเบียน ‘สินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์’ (Geographical Indications : GI) ที่สหภาพยุโรป
Environtment
ข้าวศรีแสงดาวที่เกิดมาจาก ทุ่งกุลาร้องไห้
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และข้าวนั้นปฏิเสธไม่ได้ สภาพภูมิประเทศของประเทศไทยเหมาะสมอย่างยิ่งสำหรับการเกษตรกรรม จนได้รับการขนานนามว่าเป็น "อู่ข้าวอู่น้ำ" บรรพบุรุษของเราได้ทิ้งมรดกอันล้ำค่าเกี่ยวกับวัฒนธรรมการปลูกข้าวซึ่งเป็นวิถีชีวิตของเรา และข้าวของเราไม่เพียงแต่เลี้ยงปากท้องประชากรไทยทั้งประเทศเท่านั้น แต่ยังถูกส่งออกไปยังครัวทั่วโลก สร้างความมั่นคงทางอาหารอีกด้วย
30 ปีก่อน กรมพัฒนาที่ดินได้พลิกฟื้นผืนดินแห่งนี้ให้กลายเป็นแหล่งปลูกข้าวอันดับต้นๆ ของโลก หลังจากที่กรมการข้าวได้เฟ้นหาข้าวพันธุ์ดีจากทั่วประเทศ จนคัดเลือกข้าวหอมมะลิ 2 สายพันธุ์ ได้แก่ ‘ขาวดอกมะลิ 105’ และ ‘กข 15’ ให้ผ่านเข้ารอบ และมีการกระจายเมล็ดพันธุ์ไปทดลองปลูกในหลายพื้นที่ ปรากฏว่าพื้นที่ภาคอีสานโดยเฉพาะในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ เป็นแหล่งปลูกข้าวหอมมะลิที่ใหญ่และดีที่สุดในประเทศ
Chaff benefits
The husks left from milling rice is a form of biomass that can be used to make clean energy to replace fossil fuels which is a form of non-renewable energy, as well as coal which is detrimental to the environment. Srisangdao Biopower Co Ltd was established under the concept of Bio-Circular-Green (BCG) Economy, to recycle waste from the manufacturing process to achieve Zero Waste, and increase value added for rice husks. The husks are burned to created steam that is used to power generators to create electricity for our own use, and to sell to the state.
วัตถุประสงค์และหลักการของวิธีการทำนาหว่าน
หลักการพื้นฐานของโครงการหมู่บ้านนาหยอดศรีสังข์ทอง คือการลดปริมาณเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ในการเพาะปลูก และเพิ่มผลผลิตต่อไร่ จากวิธีการทำนาหว่านแบบเดิมที่ต้องใช้เมล็ดพันธุ์ถึง 35 กิโลกรัมต่อไร่ เทียบกับการใช้เมล็ดพันธุ์เพียง 1 กิโลกรัมต่อไร่สำหรับวิธีการทำนาหยอด โดยมีระยะห่างระหว่างต้นข้าวถึง 40 เซนติเมตร ซึ่งทำให้แต่ละต้นมีพื้นที่เพียงพอในการเติบโตและเจริญงอกงามโดยไม่ต้องแย่งอาหาร น้ำ อากาศ และแสงแดด ส่งผลให้ต้นข้าวแข็งแรงและมีความต้านทาน สามารถทนต่อโรคและแมลงศัตรูพืชได้ ชาวนาสามารถเพิ่มผลผลิตได้เป็นสองเท่าถึง 600 กิโลกรัมต่อไร่
*** แกลบที่เหลือจากการสีข้าวถูกนำมารีไซเคิลเป็นบรรจุภัณฑ์ ด้วยแนวคิดเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สะท้อนถึงเอกลักษณ์และแหล่งที่มาของข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ จนคว้ารางวัลด้านดีไซน์จากหลายประเทศทั่วโลก ***ทุ่งกุลาร้องไห้ เปรียบได้กับอู่ข้าวอู่น้ำของชาวนาที่มีดิน น้ำ อากาศ ดุจดั่งของขวัญจากธรรมชาติ ทำให้ปลูกข้าวได้หอมนุ่มเป็นเอกลักษณ์ต่างจากข้าวที่ปลูกที่อื่น ด้วยอัตลักษณ์นี้ ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้จึงเป็นสินค้าไทยชนิดแรกที่ได้ขึ้นทะเบียน ‘สินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์’ (Geographical Indications : GI) ที่สหภาพยุโรป
Crop burning = Burning our heritage
Environment
Most rice farmers still misunderstand that crop burning to clear the land in preparation for seeding is easier that ploughing the crop residue, and reduces costs.
What they don’t realise is that crop burning also destroys the topsoil, especially the mineral sediments that are brought by the water, as well as the organic remains from past crops over the generations. All this will be destroyed through crop burning. When there are no more nutrients in the soil necessary for plant growth, farmers have to resort to chemical fertilisers. Furthermore, crop burning creates PM 2.5 dust particles that pollute the environment.
Assets in the soil
The Srisangdao Direct Seeding (Na Yot) Village Project therefore tried to encourage farmers to till the fields with rice chaffs as a form of plot preparation which is an ecosystem restoration method, increasing organic elements into the soil, while the nutrients from annual fertilisers are still present, essentially accumulating “assets in the soil”. This rich soil is perfect for growing rice, enabling farmers to reduce their dependence on expensive chemical fertilisers, and thereby reducing their costs drastically. And after ploughing to incorporate the crop residue for several onsecutiveyears, there will be no more need for chemical fertilisers at all.
เนื้อหาและรายละเอียด
preventive rice cultivation.